ตารางแสดงสมบัติของสารประกอบคลอไรด์ของธาตุในคาบที่
2
ตารางแสดงสมบัติของสารประกอบคลอไรด์ของธาตุในคาบที่ 3


ตารางแสดงสมบัติของสารประกอบคลอไรด์ของธาตุในคาบที่ 3

* ใช้ความดันทำให้หลอมเหลว
** ระเหิดก่อนหลอมเหลวที่ความดัน 1 บรรยากาศ
*** ปรากฏอยู่ในรูปโมเลกุลของธาตุ
จากตาราง เมื่อพิจารณาจุดหลอมเหลว–จุดเดือดของสารประกอบคลอไรด์ของธาตุในคาบที่ 2 และ 3
สรุปได้ดังนี้
1. คลอไรด์ของโลหะ มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง เพราะเป็นสารประกอบไอออนิก
(ยกเว้น BeCl2 เป็นสารประกอบโคเวเลนต์)
2. คลอไรด์ของอโลหะ
มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่ำ เพราะเป็นสารประกอบโคเวเลนต์ที่โมเลกุลยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงแวนเดอร์วาลส์
3. สารประกอบคลอไรด์ที่ละลายน้ำได้
พบว่าคลอไรด์ของโลหะมีสมบัติเป็นกลาง (ยกเว้น
BeCl2 และ AlCl3
เป็นกรด)
ส่วนสารละลายคลอไรด์ของอโลหะทุกชนิดมีสมบัติเป็นกรด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น